Site icon Nooz

ตื่นเวลานี้ เข้านอนเวลาไหน? แจกตารางเข้านอนฟรี พร้อมวิธีนอนยังไงให้ไม่ง่วง สำหรับชาวออฟฟิศ

เคยสงสัยหรือไม่ว่าทำไมเราคิดว่านอนเพียงพอแล้ว แต่ระหว่างวันก็ยังง่วงอยู่ ปัญหาเหล่านี้ทำให้เกิดพลังงานการใช้ชีวิตที่ลดลงไปมาก แต่จริงๆ แล้วเพียงแค่เราเข้าใจกลไกของร่างกายและเข้านอนอย่างถูกวิธี ก็สามารถเปลี่ยนคุณภาพการนอนให้ดีขึ้นได้ ในบทความนี้ Nooz Sleep จะมาพูดถึงวิธีการปรับเวลาเข้านอน พร้อมแจกตารางเข้านอนที่เหมาะสม โดยเฉพาะสำหรับชาวออฟฟิศ มาเปลี่ยนเป็นคนใหม่ ที่ใช้ชีวิตสดใสได้ตลอดวัน!

การเตียมตัวการเข้านอนเพื่อคุณภาพการนอนที่ดี

การจัดเวลานอนให้เข้ากับชีวิตประจำวันจะช่วยให้เรามีลูทีนการเข้านอนที่เป็นเวลาอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะทำให้ร่างกายของเราจดจำและทำให้วันต่อๆ ไปเราสามารถเข้านอน และนอนหลับได้ง่ายขึ้น นี่แหละคือตารางเข้านอนที่เพื่อน ๆ ชาวออฟฟิศสามารถใช้ได้ง่าย ๆ รับรองว่าเริ่มต้นวันใหม่ได้สดชื่นแน่นอน

ตารางเข้านอน-นอนตามกฎ90นาที

การทำงานของสมองเราขณะนอนหลับแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือแบบ NON Rapid Eye Movement (หลับลึก) และ Rapid Eye Movement (หลับตื้น)

ช่วงหลับลึก NON Rapid Eye Movement

เป็นการเข้านอนที่แบ่งช่วงเวลาได้อีก 3 ระยะย่อย ๆ คือ

ช่วงหลับตื้น Rapid Eye Movement

ช่วงที่เรานอนหลับ สมองเราก็ยังทำงานอยู่เหมือนกัน โดยเฉพาะช่วงที่เรียกว่า หลับตื้น หรือ REM (Rapid Eye Movement) ซึ่งเป็นช่วงที่สมองจะทำงานคล้ายกับตอนที่เราตื่น บางคนอาจจะฝันในช่วงนี้บ่อย ๆ ก็เพราะสมองเริ่มทำงานหนัก และในขณะเดียวกันร่างกายก็จะฟื้นฟูทั้งด้านจิตใจและอารมณ์ด้วย

ส่วนใน 1 รอบการนอน หรือที่เรียกว่า Sleep Cycle จะใช้เวลาประมาณ 90 นาที ถ้าเราวางแผนการนอนดี ๆ โดยคำนวณให้ตื่นขึ้นมาในช่วงที่เราหลับในโหมด REM เราจะรู้สึกสดชื่นและไม่งัวเงีย เพราะเราตื่นในช่วงที่สมองทำงานเต็มที่นั่นเอง ทำให้เราเริ่มต้นวันใหม่ได้อย่างเต็มพลัง!

ตารางเข้านอนตามกฎการนอนหลับ 90 นาที ตื่นเวลานี้ เข้านอนเวลาไหน?

ต้องการตื่นเวลา 04.30 น.

ต้องการตื่นเวลา 05.00 น

ต้องการตื่นเวลา 05.30 น.

ต้องการตื่นเวลา 06.00 น.

ต้องการตื่นเวลา 06.30 น.

ต้องการตื่นเวลา 07.00 น.

ต้องการตื่นเวลา 07.30 น.

ต้องการตื่นเวลา 08.00 น.

ช่วงอายุกับเวลาการนอนที่เหมาะสม

วิธีการนอนให้ไม่ง่วงระหว่างวัน

หลายคนอาจพบว่าตัวเองรู้สึกง่วงระหว่างทำงานในช่วงบ่าย แม้ว่าจะนอนเต็มอิ่มแล้วก็ตาม นี่คือเคล็ดลับที่จะช่วยให้คุณไม่รู้สึกง่วงตลอดทั้งวัน:

Exit mobile version